Friday, December 20, 2024

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

(​Integrity and Transparency Assessment: ITA)

 

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (ITA) 
ปีการศึกษา 2566

โรงเรียนแม่ถอดวิทยา อ.เถิน  จ.ลำปาง 
สพป.ลำปาง เขต 2

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

      คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้เล็งเห็นถึงจุดแข็งของเครื่องมือการประเมินผลในการต่อต้านการทุจริตทั้งของสำนักงาน ป.ป.ช. และของสำนักงานคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมือง สาธารณรัฐเกาหลี จึงได้มีมติบูรณาการเครื่องมือการประเมิน โดยในการประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. ครั้งที่ 304-51/2554 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2554 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ “ให้สำนัก/สถาบัน/ศูนย์ในสังกัดสำนักงาน ป.ป.ช. ศึกษาและเตรียมความพร้อมตามดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2554 สำหรับการประเมินผลต่อไป และอนุมัติการปรับแผนปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2554 ตามที่เสนอ ทั้งนี้ โครงการพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index of the Public Agencies) มีลักษณะใกล้เคียงกับโครงการประเมินคุณธรรมการดำเนินงาน (Integrity Assessment) ดังนั้น เมื่อดำเนินการตามโครงการทั้งสองเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรที่จะนำผลการดำเนินการมาบูรณาการร่วมกัน” กล่าวคือ การประเมินผลตามดัชนีวัดความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เป็นเครื่องมือต่อต้านการทุจริตที่ใช้ในการประเมินความพยายามของหน่วยงานภาครัฐ ในการต่อต้านการทุจริต (measure anti-corruption efforts) จากข้อเท็จจริงในการดำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้จากเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ ขณะที่การประเมินคุณธรรมการดำเนินงานเป็นเครื่องมือต่อต้านการทุจริตที่ใช้วัดระดับการทุจริตในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (measure corruption) โดยประเมินผลจากการรับรู้หรือประสบการณ์ตรงของประชาชนที่เคยรับบริการจากหน่วยงานภาครัฐ ดังนั้น เพื่อดึงจุดแข็งของทั้งสองระบบและเพื่อให้เกิดความสมดุลในการประเมิน คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีมติบูรณาการเครื่องมือการประเมินที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริตทั้งสองระบบเข้าด้วยกัน แล้วเรียกเครื่องมือใหม่ว่า “การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA)”

การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
(Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT)

 

การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
(External Integrity and Transparency Assessment: EIT1)

 

การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
(External Integrity and Transparency Assessment: EIT2)

 

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
(Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ ในตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐาน

O1 โครงสร้าง
O2 ข้อมูลผู้บริหาร
O3 อำนาจหน้าที่
O4 แผนยุทธศาสตร์ หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
O5 ข้อมูลการติดต่อ
O6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การประชาสัมพันธ์

O7 ข่าวประชาสัมพันธ์

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

O8 Q&A
O9 Social Network
O10 นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน

การดำเนินงาน

O11 แผนดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
O12 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี 2566 รอบ 6 เดือน
O13 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี

การปฏิบัติงาน

O14 คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน

การให้บริการ

O15 คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
O16 ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
O17 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
O18 E-Service

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง

การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

O19 แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
O20 ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
O21 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
O22 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

O23 นโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
O24 การดำเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
O25 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O26 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

O27 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O28  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O29 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

O30 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

นโยบาย No Gift Policy

O31 ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
O32 การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
O33 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy

การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต

O34 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
O35 การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ

แผนป้องกันการทุจริต

O36 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
O37 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
O38 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส

มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม

O39 ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
O40 การขับเคลื่อนจริยธรรม
O41 การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ

มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

O42 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
O43 การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน